คุยกับหมอโรคหัวใจ

1 DEC 2023
5 ความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับการดูแลน้องหมาโรคหัวใจ
เมื่อพูดถึงเรื่องของ “ความเชื่อ” แล้วนั้น คงปฏิเสธไม่ได้เลยว่าเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาอย่างแน่นแฟ้นและยาวนาน ไม่ว่าจะเป็นความเชื่อเกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพ การปฏิบัติตัว การรับประทานอาหาร ไม่เว้นแม้แต่ความเชื่อเกี่ยวกับการดูแลสัตว์เลี้ยง ที่ในหลายๆ ครั้งถูกส่งต่อกันมาในหลากหลายวิธี ตั้งแต่ปากต่อปาก ตำนาน ไปจนถึงวิธีการอื่นๆ โดยเฉพาะในยุคปัจจุบันที่เทคโนโลยีการสื่อสารมีการพัฒนาไปอย่างก้าวกระโดด ทำให้ข้อมูลข่าวสารสามารถส่งต่อกันได้อย่างรวดเร็วและแพร่หลาย ผ่านช่องทางต่างๆ โดยเฉพาะช่องทางยอดฮิตอย่างโซเชียลมีเดีย
12 OCT 2023
น้องหมาอายุน้อยก็เป็นโรคหัวใจได้ เกิดจากอะไร ป้องกันได้ไหมนะ?
น้องโรวา ดัลเมเชียนอายุ 2 เดือน มาตรวจสุขภาพเพื่อทำวัคซีนเข็มแรก คุณหมอประจำบ้านตรวจพบเสียงลิ้นหัวใจรั่ว ดังฟู่วววววว ๆๆๆ จากการใช้สเตทโตสโคปฟังเสียงหัวใจ จึงรีบส่งตัวมาพบคุณหมอเฉพาะโรคหัวใจ คุณแม่ของน้องเล่าให้ฟังว่า
12 OCT 2023
เมื่อรู้ว่าสุนัขเป็นโรคหัวใจแล้วไปไหนต่อ...แชร์ประสบการณ์การดูแลเคสโรคหัวใจ
สุนัขเป็นโรคหัวใจ ไม่ใช่เรื่องน่ากลัว... ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า โรคหัวใจ (heart disease) หมายถึง การที่หัวใจมีความผิดปกติเกิดขึ้น โดยอาจมีสาเหตุมาจากโครงสร้างของหัวใจ หลอดเลือด หรือลิ้นหัวใจอย่างใดอย่างหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งอย่างก็ได้
12 OCT 2023
แม้น้องหมาต้องอยู่คู่กับโรคหัวใจ ก็อายุยืนขึ้นได้ ด้วยวิธีนี้
หมอแนะนำเจ้าของให้ทำการตรวจวินิจฉัยเรื่องโรคหัวใจเพิ่มเติม เพื่อทำการประเมินระยะของโรค หลังทำการวินิจฉัยด้วยการถ่ายภาพรังสีและอัลตร้าซาวน์หัวใจ (echocardiography) แล้ว พบว่าน้องพิริ เป็นโรคหัวใจในระยะหัวใจโตแต่ยังไม่มีภาวะหัวใจล้มเหลวร่วม (stage B2)
12 OCT 2023
พาสุนัขป่วยโรคหัวใจไปหาคุณหมอครั้งแรก น้องจะเจออะไรบ้างนะ
ปฎิเสธไม่ได้เลยว่า ในปัจจุบันสุนัขมิใช่เป็นเพียงแค่สัตว์เลี้ยง ที่เลี้ยงไว้เพียงแค่เฝ้าบ้านเหมือนดังแต่ก่อน แต่เค้าคือสมาชิกตัวเล็กๆ อีกคนหนึ่งที่เป็นความสุขของทุกคนครอบครัว เมื่อเกิดความเจ็บไข้ได้ป่วยขึ้นมา ย่อมก่อให้เกิดความทุกข์ใจและไม่สบายใจแก่เจ้าของเป็นอันมาก ยิ่งเมื่อน้องอายุมากขึ้น ความเสื่อมของร่างกายก็เกิดขึ้นมาตามลำดับ โ
12 OCT 2023
อันตรายจากการให้ยาโรคหัวใจสัตว์เลี้ยงไม่ต่อเนื่องหรือให้ไม่ถูกต้องเหมาะสม
สาเหตุที่มักทำให้แมวและสุนัขได้รับยาโรคหัวใจไม่สม่ำเสมอ
10 OCT 2023
ข้อแตกต่างระหว่างสุนัขที่เป็นโรคลิ้นหัวใจไมทรัลเสื่อม (MMVD) กับโรคกล้ามเนื้อหัวใจชนิดห้องหัวใจขยายใหญ่ (DCM)
เมื่อมีสุนัขเข้ามาในโรงพยาบาล 2 ตัว โดยทั้ง 2 ตัวเป็นสุนัขที่มีอายุมากแล้ว ตัวหนึ่งเป็นสุนัขพันธุ์เล็ก มาด้วยอาการไอ หายใจลำบาก ส่วนอีกตัวเป็นสุนัขพันธุ์ใหญ่ มีอาการอ่อนแรง เหนื่อยง่าย ทุกท่านทราบหรือไม่ว่า หากเป็นโรคหัวใจ สุนัขทั้ง 2 ตัว จะมีความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจชนิดใด
12 SEP 2023
การปรับและควบคุมอาหารเป็นเรื่องสำคัญเมื่อมีปัญหาหัวใจ
ปัจจุบันโรคหัวใจในสัตว์เลี้ยงนั้นพบได้เยอะขึ้น ด้วยปัจจัยขององค์ความรู้และวิทยาการต่างๆ ทำให้สัตวแพทย์สามารถวินิจฉัยโรคได้มากขึ้น รวมทั้งการดูแลเอาใจใส่จากเจ้าของส่งผลให้สัตว์ป่วยมีอายุยืนยาวขึ้น ความเสี่ยงจากโรคชราจึงเลี่ยงได้ยาก ซึ่งหนึ่งในนั้นก็คือโรคหัวใจนั่นเอง
11 APR 2023
ตรวจโรคหัวใจต้องทำอะไรบ้าง หมอจะเล่าให้ฟัง
วันนี้เราได้รับการติดต่อจากคุณหมออายุรกรรมเรื่องนัดหมายให้พบกับคุณแม่ของน้องน้ำตาล สุนัขเพศเมียทำหมันแล้ว พันธุ์พุดเดิ้ล อายุ 13 ปี ซึ่งน้องน้ำตาลได้เข้าตรวจกับคุณหมออายุกรรมด้วยอาการหอบ เหนื่อยง่ายขึ้น มีอาการไอแห้ง โดยเฉพาะเวลากลางคืน และเริ่มมีอาการเป็นลมเวลาตื่นเต้นดีใจ
7 MAR 2023
สัตว์เลี้ยงของเราถึงเวลาตรวจเช็คสุขภาพหัวใจหรือยัง จะทราบได้อย่างไร
“หัวใจ” เป็นอวัยวะที่สำคัญมีหน้าที่สูบฉีดเลือด เพื่อนำสารอาหารและออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายสัตว์เลี้ยง จึงจำเป็นที่เราจะต้องใส่ใจในเรื่องของหัวใจ เพราะหากหัวใจไม่แข็งแรงหรือทำงานผิดปกติ ก็อาจจะส่งผลต่อการทำงานของอวัยวะอื่นๆ ตามมา
10 FEB 2023
หมอขอเล่า... หมาอ้วน ดูน่ารัก แต่เสี่ยงสารพัดโรค รวมถึงโรคหัวใจด้วยไหมนะ? ส่องโรคหัวใจแทรกซ้อนที่อาจซ่อนในหมาอ้วน
น้องหมาบ้านใครอวบอ้วน กอดอุ่นบ้าง ยกมือขึ้น … ถ้าเป็นเรื่องความน่ารัก เต็มไม้เต็มมือ ใครๆ ก็คงอยากมีน้องหมาอวบอ้วนสักหนึ่งตัวเป็นของตัวเอง แต่ในเรื่องของสุขภาพสัตว์เลี้ยงนั้น รู้หรือไม่ว่าหมาอ้วนจะมีความเสี่ยงในการเป็นโรคต่างๆ ตามมาอีกมากมาย
13 DEC 2022
สารอาหารสำคัญชนิดไหนที่ช่วยบำรุงหัวใจให้แข็งแรง
ในสุนัขและแมวที่พบว่ามีปัญหาป่วยโรคหัวใจนั้น นอกจากยาโรคหัวใจที่เราจะใช้เพื่อช่วยในการรักษาแล้ว การจัดการปัจจัยด้านอื่น ๆ ก็ช่วยให้สัตว์เลี้ยงมีอายุที่ยืนยาวขึ้นได้ การจัดการอาหารที่เหมาะสม ก็เป็นส่วนสำคัญที่ช่วยในการรักษาสัตว์ป่วยโรคหัวใจให้มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น อีกทั้งยังอาจมีส่วนช่วยชะลอความรุนแรงของโรคได้ ซึ่งในสัตว์แต่ละตัวก็มีการจัดการอาหารที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของโรค การซักประวัติ การตรวจร่างกาย หรือการมีโรคระบบอื่น ๆ ร่วมด้วย เป็นต้น
เว็บไซต์นี้มีการใช้คุ้กกี้เพื่อปรับการใช้งานให้เหมาะกับคุณและวิเคราะห์การเข้าใช้เว็บไซต์ เมื่อท่านกด "ยอมรับ" หรือยังคงเข้าชมเว็บไซต์ต่อถือว่าท่านยินยอมในการใช้งานคุ้กกี้ของเว็บไซต์นี้ ตรวจสอบ นโยบายการใช้คุกกี้ และ นโยบายความเป็นส่วนตัว ของเราที่นี่